ภาคีเข้าใจการทำ งานโครงการและ
เกิดความร่วมมือในการทำ งานโครงการตามบริบทของแต่ละภาคี
ภาคีส่งเด็กเข้าร่วมกิจกรรมที่ 3 พื้นที่ละ 100 คนเห็นกรอบการ
กำหนดบทบาทการทำ งานร่วมกันของโครงการและภาคีผลลัพธ์เชิงคุณภาพ
ค้นหากลุ่มเป้าหมายเพื่อเข้าร่วมโครงการ
จัดกิจกรรมวันที่ 30 ต.ค. 65
จดหมายเชิญภาคีออกวันที่ 23 ต.ค. 65
ส่งแบบตอบรับกลับวันที่ 27 ต.ค. 65
สรุปผลจัดกิจกรรมวันที่ 3 พ.ย.65
รูปแบบการจัดกิจกรรม
จัดเวทีเสวนาผ่านระบบ ZOOM
จำ นวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 450 คน
วัตถุประสงค์ของกาารจัดกิจกรรม
ค้นหาเยาวชนที่ตรงกับคุณสมบัติของโครงการมาเข้าร่วมโครงการได้
สร้างการมีส่วนร่วมกับภาคีจำ นวน 19 ภาคี ในพื้นที่ 4 อำ เภอ หนอง
หญ้าไซ สามชุก ด่านช้าง ดอนเจดีย์
ขอความร่วมมือเรื่องพื้นที่ในการจัดเวทีถอดประสบการณ์ฯ ใน กิจกรรมที่ 3
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ได้เยาวชนจำ นวน 400 คนเข้าร่วมกิจกรรมที่ 3 ในโครงการฯ
ภาคี 19 องค์กร ในพื้นที่ 4 อำ เภอหนองหญ้าไซ สามชุก ด่านช้าง
ดอนเจดีย์มีส่วนร่วมกับโครงการในการค้นหากลุ่มเป้าหมาย
ได้ข้อมูลเรื่องพื้นที่ในการจัดเวทีถอดประสบการณ์ฯ ในกิจกรรมที่ 3
ผลลัพธ์การดำเนินกิจกรรม
ก้าวที่ 2 ของโครงการสร้างอาชีพเยาวชนนอกระบบการศึกษาด้วยเกษตรยั่งยืน (สศกย.) Mile Stone ที่ 2 การค้นหากลุ่มเป้าหมายเพื่อเข้าร่วมโครงการ ในการทำงานครั้งนี้ทางทีมโครงการต้องขอขอบคุณทีมภาคีเครือข่ายจากพื้นที่ 4 อำเภอ คือ
อำเภอดอนเจดีย์ เข้าร่วม 6 ท่าน ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตำบลไร่รถ 2 ท่าน องค์การบริหารส่วนตำบลสระ 1 ท่าน องค์การบริหารส่วนตำบลหนองสาหร่าย 1 ท่าน สำนักงานเกษตรอำเภอดอนเจดีย์ 1 ท่าน สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอดอนเจดีย์ 1 ท่าน
อำเภอหนองหญ้าไซ เข้าร่วม 2 ท่าน ได้แก่ สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอหนองหญ้าไซ 1 ท่าน และ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองหญ้าไซ 1 ท่าน
อำเภอสามชุก เข้าร่วม 2 ท่าน ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตำบลหนองสะเดา 1 ท่าน และ องค์การบริหารส่วนตำบลย่านยาว 1 ท่าน
อำเภอด่านช้าง เข้าร่วม 1 ท่าน ได้แก่ สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอด่านช้าง 1 ท่าน
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่งคงของมนุษย์จังหวัดสุพรรณบุรี เข้าร่วม 2 ท่าน
ที่เสียสละทั้งเวลา พลังงานและความคิดในการหาทางออกดีๆร่วมกันเพื่อให้ได้มาซึ่งกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการความช่วยเหลือได้อย่างแท้จริง งานนี้บอกได้เลยว่าไม่ง่ายค่ะ แต่ทีมทำงานทุกคนก็ได้ข้อสรุปว่า เราต้องทำงานแบบที่ไม่กลัดกระดุมเม็ดแรกผิด เด็กที่ต้องการความช่วยเหลือยังรอเราอยู่มากมายในแต่ละพื้นที่ สิ่งที่เราต้องร่วมกันดำเนินงานคือการเข้าไปให้ถึงเด็กและเยาวชนเหล่านั้น จึงอยากขอเชิญชวนทุกท่านมารวมพลังกันช่วยกันค้นหาเด็กและเยาวชนที่อยู่ในพื้นที่ อำเภอหนองหญ้าไซ ดอนเจดีย์ สามชุก และ ด่านช้าง ที่ไม่ได้ศึกษาอยู่ในระบบการศึกษาและมีอายุระหว่าง 15 - 25 ใครที่ทราบข้อมูลเด็กและเยาวชนเหล่านี้ ก็ขอเชิญชวนมาช่วยกันทำให้พวกเราเข้าถึงเพื่อช่วยเหลือให้เด็กเหล่านี้ได้รับการศึกษาตามแบบที่เด็กต้องการ มีอาชีพ พึ่งพาตนเองและเลี้ยงดูครอบครัวได้ในที่สุด โครงการสร้างอาชีพเยาวชนนอกระบบการศึกษาด้วยเกษตรยั่งยืน (สศกย.) ขอเป็นหนึ่งพลังที่จะขับเคลื่อนการทำงานเพื่อช่วยเยาวชนเหล่านนี้และอยากขอเชิญชวนทุกท่านมาร่วมเป็นหนึ่งในพลังที่จะทำงานที่ยากนี้ให้สำเร็จไปด้วยกัน เพื่อสร้างพลเมืองที่ดีและสร้างสังคมที่น่าอยู่ไปด้วยกัน
จัดเวทีถอดประสบการณ์ปัญหาอุปสรรคความต้องการและทักษะของเยาวชน
จัดกิจกรรมวันที่ 15 - 18 พ.ย. 65 ลงพื้นที่ 4 อำ เภอ 4 ครั้ง
จดหมายเชิญออกวันที่ 5 พ.ย. 65
ส่งแบบตอบรับกลับวันที่ 10 พ.ย. 65
สรุปผลจัดกิจกรรมวันที่ 20 พ.ย.65
รูปแบบการจัดกิจกรรม
จัดเวทีถอดประสบการณ์ 1 วัน
จำ นวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 400 คน
วัตถุประสงค์ของกิจกรรม
เพื่อคัดสรรเยาวชนที่ต้องการเข้าร่วม
กิจกรรมที่ 5 จำ นวน 250 คน
เพื่อให้ได้ข้อมูลปัญหาอุปสรรคที่เป็น
จริงของเยาวชนมาออกแบบหลักสูตร
ในกิจกรรมที่ 5
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ได้เยาวชนเข้าร่วมกิจกรรมที่ 5 จำ นวน
250 คน
ได้ข้อมูลที่เป็นจริงมาเป็นชุดข้อมูลตั้ง
ต้นในการออกแบบหลักสูตรที่เหมาะสม
กับการพัฒนาเยาวชนในกิจกรรมที่ 5
ผลลัพธ์การดำเนินกิจกรรม
การมีส่วนร่วมในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตร
จัดกิจกรรมวันที่ 29 พ.ย. 65
จดหมายเชิญออกวันที่ 5 พ.ย. 65
ส่งแบบตอบรับกลับวันที่ 10 พ.ย. 65
สรุปผลจัดกิจกรรมวันที่ 20 พ.ย.65
รูปแบบการจัดกิจกรรม
จัดเวทีวิพากษ์หลักสูตร 1 วัน
จำ นวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 35 คน 19 ภาคี 8
ผู้ทรงคุณวุฒิ
วัตถุประสงค์ของกิจกรรม
เพื่อให้ผู้ทรงคุณวุฒิได้ร่วมพิจารณา
หลักสูตรที่ออกแบบมาว่าเหมาะสมกับ
กลุ่มเป้าหมายหรือไม่
เพื่อให้ภาคีเครือข่ายสามารถร่วมแสดง
ความคิดเห็นและร่วมพัฒนาหลักสูตรได้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เพื่อให้ผู้ทรงคุณวุฒิได้ร่วมพิจารณา
หลักสูตรที่ออกแบบมาว่าเหมาะสมกับ
กลุ่มเป้าหมายหรือไม่
เพื่อให้ภาคีเครือข่ายสามารถร่วมแสดง
ความคิดเห็นและร่วมพัฒนาหลักสูตรได้
ผลลัพธ์การดำเนินกิจกรรม
เวทีสะท้อนการเรียนรู้สำ หรับผู้ที่ผ่านการเข้า
ร่วมการอบรมกิจกรรมที่ 8
กิจกรรมเริ่มระหว่างวันที่ 23 ก.พ. 66
จดหมายเชิญออกวันที่ 10 ก.พ. 66
ส่งแบบตอบรับกลับวันที่ 18 ก.พ. 66
สรุปผลจัดกิจกรรมวันที่ 25 ก.พ.66
รูปแบบการจัดกิจกรรม
จัดเวทีเสวนาถอดบทเรียน
จำ นวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 250 คน
วัตถุประสงค์ของกิจกรรม
เพื่อให้เยาวชนได้แสดงการเปลี่ยนวิธีคิด
ในการศึกษาเป็น เข้าใจการเรียนรู้ตลอด
ชีวิต
เพื่อให้เยาวชนได้แสดงทักษะในการเป็น
ผู้นำ
เพื่อให้เยาวชนได้แสดงความมีจิต
สาธารณะ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เยาวชนเปลี่ยนวิธีคิดในการศึกษาเป็น
เข้าใจการเรียนรู้ตลอดชีวิต
เยาวชนมีทักษะในการเป็นผู้นำ
เยาวชนมีจิตสาธารณะ
ผลลัพธ์การดำเนินกิจกรรม
เวทีการถอดบทเรียนสำ หรับผู้ที่เข้าร่วม project
base
จัดกิจกรรมวันที่ 18 พ.ค. 66
จดหมายเชิญออกวันที่ 8 พ.ค. 66
ส่งแบบตอบรับกลับวันที่ 15 พ.ค. 66
สรุปผลจัดกิจกรรมวันที่ 21 พ.ค. 66
รูปแบบการจัดกิจกรรม
จัดเวทีเสวนาถอดบทเรียน
จำ นวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 50 คน
วัตถุประสงค์ของกิจกรรม
เพื่อให้เยาวชนมีเวทีนำ เสนอกระบวนคิด
ในการสร้างอาชีพ
เพื่อให้เยาวชนมีเวทีที่สามารถถ่ายทอด
ความรู้ความสามารถในการสร้างอาชีพ
ได้
เพื่อให้เยาวชนมีเวทีในการนำ เสนอวิธี
การทำ งานร่วมกันผ่านรูปแบบวิสาหกิจ
ชุมชน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เยาวชนได้นำ เสนอกระบวนคิดในการ
สร้างอาชีพ
เยาวชนได้ถ่ายทอดความรู้ความ
สามารถในการสร้างอาชีพภาคีร่วม
ดำ เนินงานได้รับรู้ความสำ เร็จของกลุ่ม
เป้าหมาย
เยาวชนนำ เสนอความสำ เร็จในการทำ
วิสาหกิจชุมชน
ผลลัพธ์การดำเนินกิจกรรม
ติดตามและสนับสนุนทักษะรายกลุ่ม
จัดกิจกรรมระหว่างวันที่ 8 มี.ค. ถึง 26
เม.ย. 66 จำ นวน 13 ครั้ง
จดหมายแจ้งพื้นที่ออกวันที่ 28 ก.พ. 66
ส่งแบบตอบรับกลับวันที่ 5 ก.พ. 66
สรุปผลจัดกิจกรรมวันที่ 28 เม.ย. 66
รูปแบบการจัดกิจกรรม
การลงพื้นที่เยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมาย
จำ นวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 50 คน
วัตถุประสงค์ของกิจกรรม
เพื่อติดตามช่วยเหลือเยาวชนที่เข้าร่วม
โครงการ
เพื่อติดตามประเมินผลการพัฒนาของ
เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เกิดการหนุนเสริมและช่วยเหลือเยาวชน
ที่เข้าร่วมโครงการให้ประสบความสำ เร็จ
ได้
ได้เก็บบันทึกการประเมินผลการพัฒนา
ของเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ
ผลลัพธ์การดำเนินกิจกรรม
ACTIVE LEARNING การอบรมหลักสูตร
เกษตรยั่งยืน
จัดกิจกรรมระหว่างวันที่ 9 ม.ค. ถึง 8
ก.พ. 66 จำ นวน 5 รุ่น
จดหมายเชิญออกวันที่ 25 ธ.ค. 65
ส่งแบบตอบรับกลับวันที่ 5 ม.ค. 66
สรุปผลจัดกิจกรรมวันที่ 15 ก.พ. 66
รูปแบบการจัดกิจกรรม
จัดอบรมแบบ active learning ระยะเวลา
ในการอบรม 3 วัน 2 คืน
จำ นวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 250 คน
วัตถุประสงค์ของกิจกรรม
เพื่อให้เยาวชนมีทักษะทางวิชาชีพ
เกษตร 5 รู้
เพื่อให้เยาวชนมีทักษะการรู้เท่าทันสื่อ
ใหม่
เพื่อให้เยาวชนมีทักษะการทำ ธุรกิจบนโซ
เซียลมีเดีย
เพื่อให้เยาวชนมีทักษะการรู้คิด
เพื่อให้เยาวชนมีทักษะการเรียนรู้ตลอด
ชีวิต
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เยาวชนมีทักษะทางวิชาชีพเกษตร 5 รู้
เยาวชนมีทักษะการรู้เท่าทันสื่อใหม่
เยาวชนมีทักษะการทำ ธุรกิจบนโซเซียล
มีเดีย
เยาวชนมีทักษะการรู้คิด
เยาวชนมีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ผลลัพธ์การดำเนินกิจกรรม
PROJECT BASE การปลูกพืชในโรงเรือน
การปลูกพืชแปลงรวม
จัดกิจกรรมระหว่างวันที่ 19 ก.พ. ถึง 15
พ.ค. 66 ระยะเวลา 3 เดือน
จดหมายเชิญออกวันที่ 8 ก.พ. 66
ส่งแบบตอบรับกลับวันที่ 15 ก.พ. 66
สรุปผลจัดกิจกรรมวันที่ 22 ก.พ. 66
รูปแบบการจัดกิจกรรม
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการลงแปลงพื้นที่
จำ นวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 25 คน
วัตถุประสงค์ของกิจกรรม
เพื่อให้เยาวชนสามารถสร้างรายได้จาก
การทำ เกษตรกรรมได้
เพื่อให้เยาวชนสามารถจัดตั้งวิสาหกิจ
ชุมชนโดยเยาวชนได้
เพื่อให้เยาวชนสามารถทำ งานร่วมกับ
ภาคีเครือข่ายสนับสนุนในระดับชุมชนได้
เพื่อให้เยาวชนมีจิตสาธารณะเป็นอาสา
สมัครชุมชนได้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เยาวชนสามารถสร้างรายได้จากการทำ
เกษตรกรรมได้
เยาวชนสามารถจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน
โดยเยาวชนได้
เยาวชนสามารถทำ งานร่วมกับภาคีเครือ
ข่ายสนับสนุนในระดับชุมชนได้
เยาวชนมีจิตสาธารณะเป็นอาสาสมัคร
ชุมชนได้
ผลลัพธ์การดำเนินกิจกรรม
กิจกรรมพัฒนาระบบฐานข้อมูลออนไลน์เพื่อให้
ภาคีความร่วมมือมีโอกาสในการเข้าถึงข้อมูล
ของเยาวชนที่ขาดโอกาสทางการศึกษาเพื่อ
การช่วยเหลือได้อย่างทันท่วงที
ดำเนินกิจกรรมระหว่างวันที่ 21 ต.ค. 65
ถึง 18 พ.ค. 66
สรุปผลจัดกิจกรรมวันที่ 30 พ.ค.66
รูปแบบการจัดกิจกรรม
จัดทำ ระบบการเก็บข้อมูลการจัดทำ ข้อมูล
วัตถุประสงค์ของกิจกรรม
ภาคีเครือข่ายความร่วมมือจากทุกภาค
ส่วนเห็นวิธีการแก้ปัญหาเยาวชนที่ขาด
โอกาสทางการศึกษาแบบบูรณาการ
เกิดความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยน
ข้อมูลระหว่างหน่วยงานภาคีความร่วม
มือที่ทำ งานเพื่อแก้ปัญหาเยาวชนที่ขาด
โอกาสทางการศึกษา
เกิดวิธีการเชื่อมโยงข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาบริ
หารจัดการการเข้าถึงเยาวชนที่ขาด
โอกาสทางการศึกษาด้วยการใช้กู
เกิ้ลแมพ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ภาคีเครือข่ายความร่วมมือจากทุกภาค
ส่วนเห็นวิธีการแก้ปัญหาเยาวชนที่ขาด
โอกาสทางการศึกษาแบบบูรณาการ
เกิดความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยน
ข้อมูลระหว่างหน่วยงานภาคีความร่วม
มือที่ทำ งานเพื่อแก้ปัญหาเยาวชนที่ขาด
โอกาสทางการศึกษา
เกิดวิธีการเชื่อมโยงข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาบริ
หารจัดการการเข้าถึงเยาวชนที่ขาด
โอกาสทางการศึกษาด้วยการใช้
google map
ผลลัพธ์การดำเนินกิจกรรม